ปัจจุบันความรู้ในด้านศิลปะและการออกแบบถูกนำมาประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมที่หลากหลายมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสื่อโฆษณา, การ์ตูน, การสร้างภาพยนต์ แต่การสร้างงานศิลป์ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับแพลตฟอร์มที่หลากหลายได้นั้นจำเป็นต้องใช้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทั้งในด้านศิลปะ, ด้านคอมพิวเตอร์ และความรู้ด้านการสื่อสาร
แขนงแอนนิเมชัน
แอนนิเมเตอร์ ,ดิจิทัล อาร์ตติส ,แอนนิเมชัน ริกเกอร์ ,แอนนิเมชัน โปรดิวเซอร์ ,นักปั้นตัวละครดิจิทัล ,เลย์เอาท์ อาร์ตติส,ผู้กำกับภาพยนตร์ดิจิทัล
แขนงวิชวลเอฟเฟกต์,นักเทคนิคพิเศษทางภาพ,ดิจิทัล อาร์ตติส ,ผู้คุมการผลิตการสร้างเทคนิคพิเศษทางภาพ ,นักออกแบบภาพจากคอมพิวเตอร์ ,นักสร้างภาพดิจิทัล
ด้วยการบูรณาการความรู้ทั้งด้าน CG, CGI, VFX เข้ากับความรู้ด้านทฤษฎีการสื่อสาร ทำให้ผู้ที่เรียนจบจากหลักสูตรนี้สามารถออกแบบผลงานให้ออกมาสวยงาม สมจริง และสื่อสารได้ชัดเจนครบถ้วน สามารถผลิตงานได้หลากหลายรูปแบบ ทั้งสื่อเพื่อความบันเทิง, เพื่อการศึกษา, การตลาด ฯลฯ
โครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาแอนนิเมชันและวิชวลเอฟเฟกต์ พ.ศ.2562 ฉบับปรับปรุง (ฉบับใช้ภายในหลักสูตร)
>คลิกที่นี่โครงสร้างหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแอนนิเมชันและเกม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2558
>คลิกที่นี่โครงสร้างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแอนนิเมชันและวิชวลเอฟเฟกต์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562
>คลิกที่นี่โครงสร้างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแอนนิเมชันและวิชวลเอฟเฟกต์ ฉบับปี พ.ศ. 2567 (ใช้สำหรับนักศึกษาปี67-71เท่านั้น)
>คลิกที่นี่