- รายละเอียด
- หมวด: บัณฑิตศึกษา
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการความรู้และนวัตกรรม (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Knowledge and Innovation Management (International Program)
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย :
ชื่อเต็ม ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการความรู้และนวัตกรรม)
ชื่อย่อ ปร.ด. (การจัดการความรู้และนวัตกรรม)
ภาษาอังกฤษ :
ชื่อเต็ม Doctor of Philosophy (Knowledge and Innovation Management)
ชื่อย่อ Ph.D. (Knowledge and Innovation Management)
3. ปรัชญา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการความรู้และนวัตกรรม (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนด้านทฤษฎีในรูปแบบบูรณาการศาสตร์ที่เน้นมุมมองของการจัดการความรู้เป็นหลัก ในการประยุกต์ใช้วิชาการทางด้านการจัดการความรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมใหม่ ซึ่งส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักสูตรนี้ช่วยสร้างดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการทำวิจัยในบริบทธุรกิจความเป็นสากล รวมถึงสร้างความเข้มแข็งงานวิจัยสู่ระดับมาตรฐานสากล ด้วยการเชื่อมโยงเครือข่ายภาควิชาการ ภาคอุตสากรรมและดิจิตอล นักศึกษานำองค์ความรู้ด้านการจัดการความรู้ ประยุกต์ใช้กับโจทย์จริงจากภาคอุตสาหกรรม โดยนักศึกษาสร้างแนวทางแก้ไขปัญหา การลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเอง รวมถึงพัฒนานวัตกรรม จากการต่อยอดองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดจากการนำความรู้และความคิดสร้างสรรค์มาผนวกกัน เพื่อ ยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศไทยสู่มาตรฐานระดับสากลอย่างยั่งยืน และ การสร้างขีดความสามารถ พร้อมขับเคลื่อนสู่ ประเทศไทย 4.0 ด้วยระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม
4. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- ความสามารถในการดำเนินงานด้านผลิตผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการในการจัดการองค์ความรู้ภายในองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคอุตสาหกรรม
- คุณธรรมและจริยธรรมในการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย 4.0 ในระบบเศรษฐกิจฐานความรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งสำหรับสังคมฐานความรู้
- ความรู้ความสามารถระดับสูง ในการประยุกต์ใช้ความรู้บริบทธุรกิจความเป็นสากลเพื่อการดำรงชีพ/ทำธุรกิจ รวมถึงพัฒนาความรู้ใหม่ด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรมในมาตรฐานสากลได้ด้วยตนเอง
- ความเป็นผู้นำ มีวิสัยทัศน์ มีจรรยาบรรณ มีจิตสำนึกสาธารณะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ในการนำองค์ความรู้ด้านการจัดการความรู้ และนวัตกรรม ไปประยุกต์ใช้และเสริมสร้างสังคมรากฐานความรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
- ความสามารถในเลือกใช้ข้อมูลในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง รวมถึงสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลมหาศาลที่มีหลากหลายรูปแบบ มาเป็นสารสนเทศที่มีคุณค่าทางธุรกิจและนำไปประยุกต์ใช้ในการขับเคลื่อนองค์กร และพยากรณ์แนวโน้มกระแสโลกาภิวัตน์ต่อเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม เพื่อสร้างโอกาสทางการแข่งขันทางธุรกิจระดับนานาชาติ
5. แนวทางการประกอบอาชีพ
- พนักงานบริษัทเอกชน
- เจ้าของกิจการส่วนตัว
- นักวิชาการ
- ข้าราชการ
- นวัตกร
6. ระยะเวลาการศึกษา
เป็นหลักสูตรระดับปริญญาเอก หลักสูตร 3 ปี และใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน 6 ปีการศึกษา
7. ค่าธรรมเนียมการศึกษา :
- แบบ 1.1 ภาคปกติ ค่าธรรมเนียมการศึกษา 270,000 บาท ตลอดหลักสูตร (แบ่งจ่ายภาคการศึกษาละ 45,000 บาท รวม 6 ภาคการศึกษา)
- แบบ 2.1 ภาคพิเศษ ค่าธรรมเนียมการศึกษา 540,000 บาท ตลอดหลักสูตร (แบ่งจ่ายภาคการศึกษาละ 90,000 บาท รวม 6 ภาคการศึกษา)
โครงสร้างหลักสูตร
หลักสูตร แบบ 1.1 สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต
ก. ปริญญานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
952899 |
ศท.คร. |
899 |
ดุษฎีนิพนธ์ |
48 หน่วยกิต |
ข. กิจกรรมทางวิชาการ ประกอบด้วย
1. นักศึกษาจัดสัมมนาโดยมีการนำเสนอความคืบหน้าของดุษฎีนิพนธ์ โดยใช้ภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 ครั้งต่อภาคการศึกษาตลอดระยะเวลาของการศึกษาอยู่จนกว่าจะสำเร็จการศึกษา 1. นักศึกษาต้องเสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชาอย่างน้อย 1 เรื่อง ซึ่งมีคณะกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง (Peer review) และมีการออกรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) โดยผลงานที่เผยแพร่ต้องเป็นบทความฉบับเต็ม (Full paper) 2. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ได้รับการเผยแพร่หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus หรือ Web of Science อย่างน้อย 2 เรื่อง โดยผลงานดุษฎีนิพนธ์ที่เผยแพร่ต้องระบุนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 1 เรื่อง 3. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบการรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา 4. นักศึกษาต้องเข้าร่วม WORKSHOP ด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรมที่ต่างประเทศ 1 ครั้ง |
ค. กระบวนวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสม
1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย ภาษาต่างประเทศ 2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา โดยกำหนดให้นักศึกษาลงทะเบียนกระบวนวิชาตามเงื่อนไขของสาขาวิชาการจัดการความรู้และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ในการทำดุษฎีนิพนธ์ โดยให้ลงทะเบียนแบบ Visiting (V) และได้รับอักษร V จำนวน 6 กระบวนวิชา ดังนี้ |
||||
952801 |
ศท.คร. |
801 |
การจัดการความรู้และนวัตกรรมเชิงธุรกิจ |
4 หน่วยกิต |
952802 |
ศท.คร. |
802 |
การจัดการความรู้เชิงพฤติกรรม |
3 หน่วยกิต |
952803 |
ศท.คร. |
803 |
การจัดการความรู้และนวัตกรรมโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
3 หน่วยกิต |
952804 |
ศท.คร. |
804 |
ระเบียบวิธีวิจัยการจัดการความรู้และนวัตกรรม |
3 หน่วยกิต |
952821 |
ศท.คร. |
821 |
วิศวกรรมความรู้เพื่อนวัตกรรม |
3 หน่วยกิต |
952891 |
ศท.คร. |
891 |
โครงงานการจัดการความรู้และนวัตกรรม |
3 หน่วยกิต |
ง. การสอบวัดคุณสมบัติ
1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ 2. นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติไม่ผ่าน ให้มีสิทธิ์สอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่ ทั้งนี้ การสอบแก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาปกติถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก 3. กรณีที่นักศึกษาสอบแก้ตัวไม่ผ่าน อาจยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิต ศึกษาประจำสาขาวิชาพิจารณา เพื่อเสนความเห็นต่อบัณฑิตวิทยาลัยในการขออนุมัติโอนไปเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชานั้น |
จ. การสอบประมวลความรู้
1. นักศึกษาจะต้องสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) โดยนักศึกษายื่นคำร้องขอสอบต่อบัณฑิตวิทยาลัยโดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หลัก 2. นักศึกษาที่สอบประมวลความรู้ ไม่ผ่าน ให้มีสิทธิ์สอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่ |
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 64 หน่วยกิต
ก. กระบวนวิชาเรียน 28 หน่วยกิต
1. กระบวนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา 28 หน่วยกิต 1.1 กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ 28 หน่วยกิต 1.1.1 กระบวนวิชาบังคับ 28 หน่วยกิต |
||||
952801 |
ศท.คร. |
801 |
การจัดการความรู้และนวัตกรรมเชิงธุรกิจ |
4 หน่วยกิต |
952802 |
ศท.คร. |
802 |
การจัดการความรู้เชิงพฤติกรรม |
3 หน่วยกิต |
952803 |
ศท.คร. |
803 |
การจัดการความรู้และนวัตกรรมโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
3 หน่วยกิต |
952804 |
ศท.คร. |
804 |
ระเบียบวิธีวิจัยการจัดการความรู้และนวัตกรรม |
3 หน่วยกิต |
952821 |
ศท.คร. |
821 |
วิศวกรรมความรู้เพื่อนวัตกรรม |
3 หน่วยกิต |
952871 |
ศท.คร. |
871 |
การจัดการความรู้และนวัตกรรม |
3 หน่วยกิต |
952891 |
ศท.คร. |
891 |
โครงงานการจัดการความรู้และนวัตกรรม |
3 หน่วยกิต |
952892 |
ศท.คร. |
892 |
สัมมนาการจัดการความรู้และนวัตกรรม 1 |
3 หน่วยกิต |
952893 |
ศท.คร. |
893 |
สัมมนาการจัดการความรู้และนวัตกรรม 2 |
3 หน่วยกิต |
1.1.2 กระบวนวิชาเลือก -ไม่มี- 1.2 กระบวนวิชานอกสาขาวิชาเฉพาะ -ไม่มี- 2. กระบวนวิชาระดับปริญญาตรีขั้นสูง -ไม่มี- |
ข. ปริญญานิพนธ์
952898 |
ศท.คร. |
898 |
ดุษฎีนิพนธ์ |
36 หน่วยกิต |
ค. กิจกรรมทางวิชาการ
1. นักศึกษาจัดสัมมนาโดยมีการนำเสนอความคืบหน้าของดุษฎีนิพนธ์ โดยใช้ภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 ครั้งต่อภาคการศึกษาตลอดระยะเวลาของการศึกษาอยู่จนกว่าจะสำเร็จการศึกษา 2. นักศึกษาต้องเสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชาอย่างน้อย 1 เรื่อง ซึ่งมีคณะกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง (Peer review) และมีการออกรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) โดยผลงานที่เผยแพร่ต้องเป็นบทความฉบับเต็ม (Full paper) 3. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ได้รับการเผยแพร่หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus หรือ Web of Science อย่างน้อย 1 เรื่อง โดยผลงานดุษฎีนิพนธ์ที่เผยแพร่ต้องระบุนักศึกษาเป็นชื่อแรก 4. นักศึกษาต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบการรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา 5. นักศึกษาต้องเข้าร่วม WORKSHOP ด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม ที่ต่างประเทศ 1 ครั้ง |
ง. กระบวนวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสม
1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย ภาษาต่างประเทศ 2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา -ไม่มี- |
จ. การสอบวัดคุณสมบัติ
1. นักศึกษาจะต้องสอบวัดคุณสมบัติเพื่อประเมินความพร้อมและความสามารถเพื่อมีสิทธิ์เสนอโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ 2. นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติไม่ผ่าน ให้มีสิทธิ์สอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่ ทั้งนี้ การสอบแก้ตัวต้องสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึกษาปกติถัดไปนับจากการสอบครั้งแรก 3. กรณีที่นักศึกษาสอบแก้ตัวไม่ผ่าน อาจยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิต ศึกษาประจำสาขาวิชาพิจารณา เพื่อเสนความเห็นต่อบัณฑิตวิทยาลัยในการขออนุมัติโอนไปเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชานั้น |
ฉ. การสอบประมวลความรู้
1. นักศึกษาจะต้องสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) โดยนักศึกษายื่นคำร้องขอสอบต่อบัณฑิตวิทยาลัยโดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์หลัก 2. นักศึกษาที่สอบประมวลความรู้ไม่ผ่าน ให้มีสิทธิ์สอบแก้ตัวได้อีก 1 ครั้ง โดยต้องยื่นคำร้องขอสอบใหม่ |
- รายละเอียด
- หมวด: บัณฑิตศึกษา
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
ภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Software Engineering
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย :
ชื่อเต็ม วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมซอฟต์แวร์)
ชื่อย่อ วท.ม. (วิศวกรรมซอฟต์แวร์)
ภาษาอังกฤษ :
ชื่อเต็ม Master of Science (Software Engineering)
ชื่อย่อ M.S. (Software Engineering)
3. ปรัชญา
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นศาสตร์ที่ใช้กระบวนการทางวิศวกรรมในการบริหารการออกแบบและผลิตซอฟต์แวร์ ตั้งแต่กระบวนการเก็บความต้องการ การประเมินราคา การออกแบบ การพัฒนา การทดสอบ การควบคุมคุณภาพ การประเมินผล การติดตามโครงการ การประเมินต้นทุน จนถึงกระบวนการดูแลรักษาซอฟต์แวร์ เพื่อให้กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์มีประสิทธิภาพและสามารถทวนสอบย้อนกลับได้
4. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ตามมาตรฐานองค์ความรู้วิศวกรรมซอร์ฟแวร์อ้างอิงตาม Software Engineering Body of Knowledge (SWEBOK)
- มีประสบการณ์จากการทำงานร่วมกันเป็นทีมในการพัฒนาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ โดยใช้โจทย์จากภาคอุตสาหกรรม
- มีทักษะในการค้นคว้า วิจัย และสามารถประยุกต์และต่อยอดองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภาพ อันนำมาซึ่งประโยชน์ของตนเอง สังคม และประเทศชาติ
- มีความเป็นมืออาชีพ คุณธรรมจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม ทักษะการเรียนรู้ ทักษะการคิด และทักษะการสื่อสารที่ดี
5. แนวทางการประกอบอาชีพ
- วิศวกรซอฟต์แวร์
- นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
- นักทดสอบโปรแกรม
- ผู้บริหารโครงการซอฟต์แวร์
- ผู้ประกอบการบริษัทซอฟต์แวร์
- ที่ปรึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ
6. ค่าธรรมเนียมการศึกษา :
แบบ 2 (ภาคปกติ) ค่าธรรมเนียมเหมาจ่าย 100,000 บาทตลอดหลักสูตร (แบ่งจ่ายภาคการศึกษาละ 25,000 บาท รวม 4 ภาคการศึกษา)
แบบ 3 (ภาคพิเศษ) ค่าธรรมเนียมเหมาจ่าย 180,000 บาทตลอดหลักสูตร (แบ่งจ่ายภาคการศึกษาละ 45,000 บาท รวม 4 ภาคการศึกษา)
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
ก. กระบวนวิชาเรียน ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต
1. กระบวนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1 กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1.1 กระบวนวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต |
||
953701 |
การพัฒนาซอฟต์แวร์เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953702 |
การจัดการกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953790 |
ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953791 |
การสัมมนาในหัวข้อวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
1.1.2 กระบวนวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยเลือกจากกระบวนวิชาเหล่านี้ หรือกระบวนวิชาอื่น ๆ ที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำสาขาวิชาให้ความเห็นชอบ |
||
952703 |
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการความรู้ |
3 หน่วยกิต |
953711 |
การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบอไจล์เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953721 |
วิศวกรรมความต้องการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953722 |
การสร้างและวิวัฒนาการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953723 |
กระบวนการและการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953724 |
การบริหารโครงร่างซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953725 |
การตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้องของซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953726 |
ข้อกำหนดรูปนัยซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953741 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับการประยุกต์ กับวิสาหกิจขนาดใหญ่ |
3 หน่วยกิต |
953742 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับการประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม |
3 หน่วยกิต |
953743 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับการประยุกต์เชิงธุรกิจ |
3 หน่วยกิต |
953761 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ในการพัฒนาโปรแกรมระบบและเครือข่าย |
3 หน่วยกิต |
953762 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับระบบติดตามตัว |
3 หน่วยกิต |
953771 |
การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ |
3 หน่วยกิต |
953772 |
ข้อมูลขนาดใหญ่เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953773 |
เทคนิคปัญญาประดิษฐ์สำหรับงานวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953774 |
วิศวกรรมซอฟท์แวร์สำหรับการออกแบบเกมคิดไตร่ตรอง |
3 หน่วยกิต |
953781 |
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953782 |
เศรษฐศาสตร์สำหรับผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953783 |
ระบบความปลอดภัยและการบริหารจัดการ |
3 หน่วยกิต |
953784 |
การบริหารความเสี่ยงโครงการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953785 |
การจัดการความรู้และวิศวกรรมความรู้ |
3 หน่วยกิต |
953789 |
หัวข้อที่เลือกสรรทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
1.2 กระบวนวิชานอกสาขาวิชาเฉพาะ -ไม่มี- 2. กระบวนวิชาระดับปริญญาตรีขั้นสูง -ไม่มี- |
ข. ปริญญานิพนธ์ 18 หน่วยกิต
953799 |
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท |
18 หน่วยกิต |
ค. กระบวนวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสม
1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย ภาษาต่างประเทศ 2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา - ไม่มี - |
ง. กิจกรรมทางวิชาการ ประกอบด้วย
1. การนำเสนอผลงานในการสัมมนาอย่างน้อย 1 ครั้ง ตลอดระยะเวลาการศึกษา 2. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI Ter1 อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ เผยแพร่เป็น บทความฉบับเต็ม (Full paper) ในเอกสารเผยแพร่การประชุมวิชาการ (Proceeding) ระดับนานาชาติ ที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น 3. ต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัย โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะและรวบรวม ส่งบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา |
โครงสร้างหลักสูตรแบบ 3 (แผน ข)
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
ก. กระบวนวิชาเรียน ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
1. กระบวนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1 กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1.1 กระบวนวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต |
||
953701 |
การพัฒนาซอฟต์แวร์เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953702 |
การจัดการกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953790 |
ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953791 |
การสัมมนาในหัวข้อวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
1.1.2 กระบวนวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยเลือกจากกระบวนวิชาเหล่านี้ หรือกระบวนวิชาอื่น ๆ ที่คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำสาขาวิชาให้ความเห็นชอบ |
||
952703 |
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการความรู้ |
3 หน่วยกิต |
953711 |
การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบอไจล์เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953721 |
วิศวกรรมความต้องการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953722 |
การสร้างและวิวัฒนาการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953723 |
กระบวนการและการประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953724 |
การบริหารโครงร่างซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953725 |
การตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้องของซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953726 |
ข้อกำหนดรูปนัยซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953741 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับการประยุกต์ กับวิสาหกิจขนาดใหญ่ |
3 หน่วยกิต |
953742 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับการประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม |
3 หน่วยกิต |
953743 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับการประยุกต์เชิงธุรกิจ |
3 หน่วยกิต |
953761 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ในการพัฒนาโปรแกรมระบบและเครือข่าย |
3 หน่วยกิต |
953762 |
วิศวกรรมซอฟต์แวร์สำหรับระบบติดตามตัว |
3 หน่วยกิต |
953771 |
การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ |
3 หน่วยกิต |
953772 |
ข้อมูลขนาดใหญ่เบื้องต้น |
3 หน่วยกิต |
953773 |
เทคนิคปัญญาประดิษฐ์สำหรับงานวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953774 |
วิศวกรรมซอฟท์แวร์สำหรับการออกแบบเกมคิดไตร่ตรอง |
3 หน่วยกิต |
953781 |
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953782 |
เศรษฐศาสตร์สำหรับผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953783 |
ระบบความปลอดภัยและการบริหารจัดการ |
3 หน่วยกิต |
953784 |
การบริหารความเสี่ยงโครงการซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
953785 |
การจัดการความรู้และวิศวกรรมความรู้ |
3 หน่วยกิต |
953789 |
หัวข้อที่เลือกสรรทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 หน่วยกิต |
1.2 กระบวนวิชานอกสาขาวิชาเฉพาะ -ไม่มี- 2. กระบวนวิชาระดับปริญญาตรีขั้นสูง -ไม่มี- |
ข. ปริญญานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
953798 |
การค้นคว้าอิสระ |
6 หน่วยกิต |
ค. กระบวนวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสม
1. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย ภาษาต่างประเทศ 2. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา - ไม่มี - |
ง. กิจกรรมทางวิชาการ ประกอบด้วย
1. การนำเสนอผลงานในการสัมมนาอย่างน้อย 1 ครั้ง ตลอดระยะเวลาการศึกษา 2. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI Ter1 อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ เผยแพร่เป็น บทความฉบับเต็ม (Full paper) ในเอกสารเผยแพร่การประชุมวิชาการ (Proceeding) ระดับนานาชาติ ที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น 3. ต้องรายงานผลการศึกษาตามแบบรายงานผลของบัณฑิตวิทยาลัย โดยผ่านความเห็นชอบของประธานกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะและรวบรวม ส่งบัณฑิตวิทยาลัยทุกภาคการศึกษา |
จ.การสอบประมวลความรู้
ผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) โดยนักศึกษายื่นคำร้องขอสอบต่อบัณฑิตวิทยาลัยโดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หรืออาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระหลัก |
- หน้าแรก
- รับสมัคร
- ระดับปริญญาตรี
- ระดับบัณฑิตศึกษา โท
- วิศวกรรมซอฟต์แวร์ แผน 2 แบบวิชาการ
- วิศวกรรมซอฟต์แวร์ แผน 3 แบบวิชาชีพ
- การจัดการความรู้และนวัตกรรม แผน 1 แบบวิชาการ
- การจัดการความรู้และนวัตกรรม แผน 2 แบบวิชาการ (ภาคปกติ)
- การจัดการความรู้และนวัตกรรม แผน 2 แบบวิชาการ (ภาคพิเศษ)
- การจัดการความรู้และนวัตกรรม แผน 3 แบบวิชาชีพ
- การจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล แผน 2 แบบวิชาการ
- การจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล แผน 3 แบบวิชาชีพ
- ระดับบัณฑิตศึกษา เอก
- หลักสูตร
- โครงการ
- ข้อมูลวิทยาลัย
- ติดต่อ